ความสำคัญของ พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ |
|
ข้อปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุ เมื่อเกิดอุบัติเหตุ หรือเห็นเหตุการณ์ |
- จดหมายเลขทะเบียน / เลขกรมธรรม์ / เครื่องหมาย
- นำผู้บาดเจ็บส่งโรงพยาบาลที่ใกล้ที่สุด
- แจ้งความกับตำรวจ พร้อมแจ้งให้บริษัททราบ
- มอบเอกสารเกี่ยวกับรถและการประกันให้ ร.พ. หากไม่มีเงินจ่าย
- เก็บใบเสร็จรับเงินค่ารักษาทุกใบไว้หากสำรองจ่ายเอง
- นำเอกสารที่เกี่ยวข้องทั้งหมดติดต่อขอรับเงินจากบริษัท
|
การใช้สิทธิเพื่อขอรับค่าสิไหมฯ |
มี 2 แนวทาง คือ
- ดำเนินการด้วยตัวเอง
- มอบให้บุคคลอื่นดำเนินการแทน
- มอบอำนาจให้บุคคลต้องมีหนังสือมอบอำนาจ
- มอบให้โรงพยาบาลดำเนินการลงชื่อในแบบ บ.ต.4
|
เอกสารที่ต้องใช้ มี 2 ส่วน ส่วนที่ 1. เอกสารประกอบเคลม (ตามสัญญากรมธรรม์)
ส่วนที่ 2. เอกสารประกอบคำร้องขอ (ตามกฏกระทรวง)
- กรณีบาดเจ็บ
- ใบเสร็จรับเงิน / ใบแจ้งหนี้
- สำเนาบัตรประชาชน (ผู้ประสบภัย)
- กรณีเสียชีวิต / ทุพพลภาพ
- ใบมรณะบัตร / ใบรับรองแพทย์หรือใบรับรองความพิการ
- สำเนาทะเบียนบ้าน
- สำเนาบัตรประชาชนของทายาท
- บุตร - ธิดา / สามี หรือภรรยาที่จดทะเบียนสมรส
- บิดา - มารดา
- พี่ - น้อง ร่วมบิดามารดาเดียวกัน
- พี่ - น้อง ร่วมบิดา หรือ มารดา เดียวกัน
- ปู่ - ย่า - ตา - ยาย
- ลุง - ป้า - น้า - อา
- ผู้จัดการมรดก
|
ขั้นตอนการยื่นคำร้องขอรับค่าสินไหมฯ |
ขั้นที่หนึ่ง : การเตรียมเอกสาร |
 |
- เอกสารประกอบเคลม
- เอกสารประกอบคำร้อง
| |
ขั้นที่สอง : การยื่นคำร้องขอ |
 |
- กรอกแบบยื่นคำร้องขอ (บต.3 หรือ บต.4) และลงชื่อให้รายละเอียดในข้อเท็จจริงของอุบัติเหตุ
(เคลมฟอร์ม) รับใบนัดรับเงินจากพนักงาน | |
ขั้นที่สาม : การรับเงิน |
 |
- ยื่นใบนัดรับเงิน
- แสดงบัตรประชาชน
- ลงชื่อเอกสารรับเงิน
| |
หมายเหตุ : การยื่นขอรับค่าเสียหายทุจริตหรือหลักฐานเท็จโทษ จำคุก 1 ปี ปรับ 20,000 บาท |